วิจัย การส่งเสริมทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กผฐมวัยโดยผู้ปกครองผ่านชุดกิจกรรม สนุกกับลูกรัก
ผู้วิจัย บุษยมาศ ผึ้งหลวง เสนอต่อบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปี พ.ศ. 2556
ใช้กลุ่มตัวอย่างจาก เด็กปฐมวัย อายุ 4-5 ปี ที่กำลังศึกษาอยู่ชั้นอนุบาล 1 โรงเรียนวัดผึ่งแดด (บุญสืบวิชชนูอุปถัมภ์) โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง 1 ห้อง (20คน) และผู้ปกครองของกลุ่มที่ศึกษา
ระยะเวลาที่ใช้ในการทดลอง ทดลอง 8 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 3 วัน ( จันทร์ พุธ ศุกร์) วันละ 45 นาที รวมทั้งหมด 24 ครั้ง
ระยะเวลาที่ใช้ในการทดลอง ทดลอง 8 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 3 วัน ( จันทร์ พุธ ศุกร์) วันละ 45 นาที รวมทั้งหมด 24 ครั้ง
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
1.ชุดกิจกรรมสนุกกับลูกรัก
2.แบบทดสอบเชิงปฏิบัติทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยโดยแบบทดสอบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์มีทั้งหมด 4 ด้าน คือ ด้านการจัดหมวดหมู่ ด้านการเปรียบเทียบ ด้านการรู้ค่าจำนวน 1-10 และด้านการเรียงลำดับ
วิธีการดำเนินการทดลอง
1.ชุดกิจกรรมสนุกกับลูกรัก
2.แบบทดสอบเชิงปฏิบัติทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยโดยแบบทดสอบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์มีทั้งหมด 4 ด้าน คือ ด้านการจัดหมวดหมู่ ด้านการเปรียบเทียบ ด้านการรู้ค่าจำนวน 1-10 และด้านการเรียงลำดับ
วิธีการดำเนินการทดลอง
1.ขอความร่วมมือจากผู้ปกครอง
2.ก่อนการทดลอง ทำการทดสอบทักษะทางคณิตศาสตร์กับกลุ่มตัวอย่าง
3.เชิญผู้ปกครองเข้าปฐมนิเทศเพื่อรับทราบเกี่ยวกับขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม
4.มอบหมายชุดกิจกรรมสนุกกับลูกรัก ให้ผู้ปกครงและเด็กได้ไปทำกิจกรรมร่วมกันที่บ้าน ในวัน จันทร์ วันพุธ และวันศุกร์ และให้ผู้ปกครองนำชุดกิจกรรมมาส่งผู้ทำวิจัยในวันรุ่งขึ้น
5.ดำเนินการทดลอง โดยใช้เวลา 8 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 3 วัน วันละ 45 นาที
6.เมื่อครบ 8 สัปดาห์ ให้กลุ่มตัวอย่างทำการทดสอบทักษะทางคณิตศาสตร์
7.นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ตามวิธีการทางสถิติเพือสรุปผลวิจัย
สรุปผลการวิจัย
1.ระดับทักษะพื้นฐานทางคณิศาสตร์ของเด็กปฐมวัยหลังได้รับการเสริมทักษะอยู่ในระดับดี
2.ระดับทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยหลังได้รับการเสริมทักษะมีทักษะทางคณิตศาสตร์โดยรวมและจำแนกรายทักษะสูงขึ้นกว่าก่อนการทดลอง
2.ก่อนการทดลอง ทำการทดสอบทักษะทางคณิตศาสตร์กับกลุ่มตัวอย่าง
3.เชิญผู้ปกครองเข้าปฐมนิเทศเพื่อรับทราบเกี่ยวกับขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม
4.มอบหมายชุดกิจกรรมสนุกกับลูกรัก ให้ผู้ปกครงและเด็กได้ไปทำกิจกรรมร่วมกันที่บ้าน ในวัน จันทร์ วันพุธ และวันศุกร์ และให้ผู้ปกครองนำชุดกิจกรรมมาส่งผู้ทำวิจัยในวันรุ่งขึ้น
5.ดำเนินการทดลอง โดยใช้เวลา 8 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 3 วัน วันละ 45 นาที
6.เมื่อครบ 8 สัปดาห์ ให้กลุ่มตัวอย่างทำการทดสอบทักษะทางคณิตศาสตร์
7.นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ตามวิธีการทางสถิติเพือสรุปผลวิจัย
สรุปผลการวิจัย
1.ระดับทักษะพื้นฐานทางคณิศาสตร์ของเด็กปฐมวัยหลังได้รับการเสริมทักษะอยู่ในระดับดี
2.ระดับทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยหลังได้รับการเสริมทักษะมีทักษะทางคณิตศาสตร์โดยรวมและจำแนกรายทักษะสูงขึ้นกว่าก่อนการทดลอง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น